พระครูธรรมธรวรเดชา อคฺคเตโช, ดร.

ชื่อ,ฉายา,นามสกุล  – พระครูธรรมธรวรเดชา, อคฺคเตโช, พรหมเสนา, ดร.

วัน, เดือน, ปีเกิด – วันจันทร์ ที่ ๑๖, พฤษภาคม,  พ.ศ. ๒๕๐๙
สถานที่เกิด – บ้านเลขที่ ๕๐ หมู่ที่ ๖ บ้านนาโพธิ์  ตำบลโพธิ์ไทร  อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร (นครพนม) ๔๙๑๒๐ (พ.ศ. ๒๕๐๙)
-สถานบรรพชา -สถานที่ศึกษาต่อ -วัดศรีสุริยาราม บ้านนาโพธิ์ ต.โพธิ์ไทร อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร ๔๙๑๒๐ – วันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๒ ศึกษาต่อ ณ วัดสุภากรณ์นิคมธรรมาราม ตำบลนิคมคำสร้อย อำเภอนิคมคำสร้อย จังหวัดมุกดาหาร ๔๙๑๓๐ (พ.ศ. ๒๕๒๒)
อุปสมบท – วันที่ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๐ ณ วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ๑๐๖๐๐ (พ.ศ. ๒๕๓๐)
ประกาศนียบัตร พระปริยัติธรรม – สอบไล่ได้นักธรรมชั้นเอก สำนักเรียนวัดสุภากรณ์นิคมธรรมาราม ตำบลนิคมคำสร้อย อำเภอนิคมคำสร้อย จังหวัดมุกดาหาร ๔๙๑๓๐ (พ.ศ. ๒๕๒๕) -ได้รับประกาศนียบัตร สอบไล่ได้เปรียญธรรม ห้า ประโยค ป.ธ.๕ ที่ ๒๔๙/๒๕๓๒ กองศาสนศึกษา กรมการศาสนา จากสำนักเรียนวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร (พ.ศ. ๒๕๓๖)
ประกาศนียบัตร ระดับประถมศึกษา     –ได้รับประกาศนียบัตร สอบไล่ได้ตามหลักสูตรประโยคประถมศึกษาตอนต้น กระทรวงศึกษาธิการ นักเรียนโรงเรียนบ้านนาโพธิ์ จังหวัดนครพนม เลขที่ ๔๔๘ (พ.ศ. ๒๕๒๐)
ประกาศนียบัตร ระดับสามัญศึกษา ระดับมัธยมศึกษา   – ได้รับประกาศนียบัตร สอบไล่ได้ตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายพระปริยัติธรรม (ม.๖) แผนกสามัญศึกษา จากโรงเรียนบาลีเตรียมอุดมศึกษา มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร เลขที่ ๑๘ (พ.ศ. ๒๕๓๖)
ปริญญาบัตร ระดับอุดมศึกษา – ปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) สาขาวิชา ศาสนา     มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย รุ่นที่ ๑๓ เลขทะเบียนที่ ศธ ๑๗๐๐.๖/๐๖๑/๑๑๐๗๙ (พ.ศ. ๒๕๔๑)
  – ปริญญาโท สาขาวิชา พระพุทธศาสนา M.A. (Buddhist Studies Master of Arts), มหาวิทยาลัยเดลี ประเทศอินเดีย Delhi University Of India.,  Enrol No BS-59/98, Roll No. 78597 (พ.ศ. ๒๕๔๓)
  – ปริญญาเอก (พธ.ด.) พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  รุ่นที่ ๑๐ เลขทะเบียน บฑ ๐๐๙/๒๕๕๗ (พ.ศ. ๒๕๕๗)
ประกาศนียบัตร ระดับทั่วไป – ได้รับประกาศนียบัตร ตามหลักสูตรของ อภิธรรมโชติกะวิทยาลัย (อ.ช.ว.) ชั้น มัชฌิมะอาภิธรรมิกะตรี” (มัชฌิมะ-ตรี) สำนักเรียนวัดสุภากรณ์นิคมธรรมารามตำบลนิคมคำสร้อย อำเภอนิคมคำสร้อย จังหวัดมุกดาหาร (พ.ศ. ๒๕๒๖)
  – ได้รับประกาศนียบัตร สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ไมโครซอฟท์เวิร์ด ฟอร์ วินโดว์” จากโรงเรียนสยามคอมพิวเตอร์ธนบุรี กรุงเทพฯ (พ.ศ. ๒๕๓๙)
  – ได้รับประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติพิเศษ ในฐานะอาจารย์ประสานงานโรงเรียนวัดบ้านโป่ง (สามัคคีอุปถัมภ์) การตอบปัญหาธรรมะ “ทางก้าวหน้า” ครั้งที่ ๑๖ วัดธรรมกาย (พ.ศ. ๒๕๔๐)
  – ได้รับประกาศนีบัตรวิชาชีพครู (ป.วค.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มจร (พ.ศ. ๒๕๔๗)
  – ได้รับประกาศนียบัตร สำเร็จการฝึกอบรมตามหลักสูตรวิชาการเทศนา รุ่นที่ ๑๘ โครงการฝึกอบรมพระนักเทศน์เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 3สค-6พย53 (พ.ศ. ๒๕๕๓) 
  – ได้รับประกาศนียบัตร การอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่รายการวิทยุกระจายเสียง” รุ่นพิเศษ ๖๐ จากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (พ.ศ. ๒๕๕๔)
CERTIFICATE CERTIFICATE OF ADWANCED STAGE has successfully completed  the full course of English which has been restricted for this stage with GRADE And has been found qualified to  award the certificate. From The Centre Of English Education Bangkok Metropolis Thailand .  No 13 (C.E.1992) B.E.2535 – And CERTIFICATE OF ADWANCED STAGE has successfully completed the full course of English. This examination is approved by the Board of Directions of our Institute and has been limited for this stage. No 17 (C.E. 1992) B.E.2535
กิตติบัตร/เกียรติบัตร – ได้เข้ารับการปฏิบัติธรรมในโครงการปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ ณ พุทธมณฑล (พ.ศ. ๒๕๓๒)
  – ได้รับเกียรติบัตร ได้เข้าร่วมการประชุมสัมมนาผู้บริหารและครูสอนโรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เรื่อง เทคนิคการจัดการเรียนการสอนนักเรียนระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาเชิงปฏิบัติการยุคใหม่” ณ อาคารมหาธาตุวิทยาลัย วัดมหาธาตุ พระบรมมหาราชวัง พระนคร กรุงเทพมหานคร (พ.ศ. ๒๕๔๙)
  – ได้รับเกียรติบัตร ประเภท สอนศีลธรรมดีเด่น” โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤทธิ์ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพมหานคร (พ.ศ.๒๕๕๐)
วุฒิบัตร – ได้ผ่านโครงการอบรมถวายความรู้พระวิทยากรศูนย์พระสงฆ์นักเผยแผ่ธรรมเพื่อพัฒนาสังคม หลักสูตร พระวิทยากรเผยแผ่ธรรมศึกษายุคใหม่” ณ วัดยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร (พ.ศ. ๒๕๔๖)
  – ได้รับวุฒิบัตร ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาศักยภาพการวิจัยทางพระพุทธศาสนา เพื่อความก้าวหน้าในประชาคมอาเซียน จากศูนย์ศึกษาอาเซียน มจร (พ.ศ. ๒๕๕๙)
  -ได้รับวุฒิบัตร ได้เข้าร่วมปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน “โครงการพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยด้านการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน” ณ ศูนย์พัฒนาศาสนาแคมป์สน จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มจร (๒๔ มี.ค.-๒ เม.ย. ๖๒) ต.แคมป์สน อ. เขาค้อ จ. เพชรบูรณ์ (พ.ศ. ๒๕๖๒)
อนุโมทนาบัตร งานวิชาการ – ได้เข้าร่วมกิจกรรมในโครงการบรรพชาสามเณรและบวชเนกขัมมจาริณี  โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล แด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
การอบรม – ได้ผ่านการถวายความรู้ เรื่อง บทบาทของพระสงฆ์เพื่อการพัฒนาสังคมไทย” จัดโดย มหาวิทยาลับธรรมศาสตร์ ร่วมกับ ศูนย์พระสงฆ์นักเผยแผ่ธรรมเพื่อพัฒนาสังคม ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สำนักส่งเสริมและบริการสังคม (พ.ศ. ๒๕๔๖)
ประสบการณ์การทำงาน วิทยากร กรรมการ และบริหาร (ในประเทศ) -เป็นวิทยากร อบรมสามเณรภาคฤดูร้อน ณ วัดสุภากรณ์นิคมธรรมาราม ตำบลนิคมคำสร้อย อำเภอนิคมคำสร้อย จังหวัดมุกดาหาร (พ.ศ. ๒๕๓๐)
  – เป็นกรรมการนักเรียน และรองบริหารฝ่ายสังคม โรงเรียนบาลีเตรียมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดมหาธาตุยุวราชรังสรังสฤทธิ์ กรุงเทพฯ (พ.ศ. ๒๕๓๖)
  – เป็นครูสอน พระปริยัติธรรม ประจำสำนักศาสนศึกษา วัดศรีมงคลใต้ อำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร (พ.ศ. ๒๕๓๗)
  –  วิทยากรอบรมเยาวชนและสามเณรภาคฤดูร้อน ณ วัดเกาะแก้ว ตำบลหนองสามสี อำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอำนาจเจริญ (พ.ศ. ๒๕๓๗)
  – เป็นวิทยากร/หัวหน้าโครงการอบรมเยาวชนภาคฤดูร้อน ณ วัดศรีสุริยาราม บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร อำเภอดอน ตาล จังหวัดมุกดาหาร (พ.ศ . ๒๕๓๙)
  – เป็นวิทยากร อบรมสามเณรภาคฤดูร้อน วัดอรุณราชวราราม แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพ ฯ (พ.ศ. ๒๕๔๐)
  – เป็นอาจารย์สอนนักเรียนโรงเรียนการกุศลของวัด ณ โรงเรียนวัดบ้านโป่ง (สามัคคีอุปถัมภ์) อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี (พ.ศ. ๒๕๔๐)
  – เป็นเจ้าหน้าที่ มจร (ประจำห้องอธิการบดี) (พระธรรมโกศาจารย์-พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) ) สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (เลขาหน้าห้องติดตามช่วยงานอธิการบดี) (พ.ศ. ๒๕๔๓-๒๕๔๖, ๒๕๖๑)
  – เป็นเจ้าหน้าที่ธุรการ ลูกจ้างชั่วคราว (ประจำห้องอธิการบดี) กองกลาง สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตามคำสั่งมหาวิทยาลัย ที่ ๒๘๖/๒๕๔๖ ลงวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๔๖ (พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๔๘)
  -เป็นบุคลากรมหาวิทยาลัย ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ บริหารงานทั่วไป เลขที่ ๖๘๖ กองกลางสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตามคำสั่งมหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๘)
  -เป็นบุคลากรมหาวิทยาลัย ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ นักจัดการงานทั่วไป-บริหารงานทั่วไป เลขที่ ๖๘๖ กองกลางสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตามคำสั่งมหาวิทยาลัย (เปลี่ยนจาก บริหารงานทั่วไป) (พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๑)
  -ร่วมทำงาน โครงการประชุมสุดยอดผู้นำชาวพุทธทั่วโลก (Buddhist Summit) มจร (พ.ศ. ๒๕๔๔)
  -ร่วมทำงาน โครงการประชุมสุดยอดผู้นำชาวพุทธทั่วโลก (WCRL) มจร (พ.ศ. ๒๕๔๕)
  -เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ร่วมประชุมปฏิบัติการคณาจารณ์ มจร (พ.ศ. ๒๕๔๕)
เป็นคณะกรรมการฝ่ายซ้อมรับปริญญา งานประสาทปริญญาบัตร มจร (พ.ศ. ๒๕๔๕ ถึงปัจจุบัน) -เป็นคณะกรรมการฝ่ายซ้อมรับปริญญา งานประสาทปริญญาบัตร มจร (ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๕- ถึงปัจจุบัน)
ประสบการณ์การทำงาน วิทยากร และเป็นอาจารย์สอน (ในประเทศ) – เป็นอาจารย์สอนนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา ณ วัดสังเวชวิศยาราม แขวงบางลำพู เขตพระนคร กรุงเทพ ฯ (พ.ศ. ๒๕๔๕ – ๒๕๔๘)
  – เป็นวิทยากร อบรมสามเณรภาคฤดูร้อน วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพ ฯ (พ.ศ. ๒๕๔๖)
  – เป็นอาจารย์สอน (ติว) นักเรียนมัธยม โรงเรียนวัดชิโนรส แขวงบ้านช่างหล่อ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพ ฯ (พ.ศ.๒๕๔๖)
  – อาจารย์สอน (ติว) ธรรมศึกษา นักเรียน ปวช โรงเรียนพณิชการราชดำเนิน บางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ (พ.ศ.๒๕๔๖)
  –  สอนนักเรียนโรงเรียนบาลีเตรียมอุดมศึกษาตามหลักสูตร ป.วค.รุ่นที่ ๑๐/๒๕๔๖ (พ.ศ. ๒๕๔๖)
  – เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ร่วมประชุมฝึกอบรมหลักสูตรพัฒนาทักษะสร้างจิตสำนึกฯ ๕ ส ณ วัดกษัตราธิราชวรวิหาร ตำบลบ้านป้อม อำเภอเมือง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (๕-๘ มิ.ย.๔๖) จัดโดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๔๖)
  – เป็นอาจารย์สอนนักเรียนชั้นประถมศึกษา โรงเรียนประถมทวีธาภิเศก บางกอกใหญ่ กรุงเทพ ฯ (พ.ศ. ๒๕๔๗)
  – เป็นกรรมการร่วมทำงานโครงการประชุมสุดยอดผู้นำเยาวชน เพื่อสันติภาพโลก เอเชีย-แปซิฟิก มจร (๒๕-๒๘ ก.พ. ๔๗) (พ.ศ. ๒๕๔๗)
  – เป็นกรรมการและประชุมบุคลากรกลาง มจร (๓ ก.ย.๔๗) (พ.ศ. ๒๕๔๗)
  – ร่วมประชุมและช่วยงานปฏิบัติการและจัดทำข้อเสนอโครงการวิจัย ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๙ ครั้งที่ ๒ สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มจร (๒๕ พ.ย. ๔๗) (พ.ศ. ๒๕๔๗)
  – เป็นกรรมการและร่วมประชุมนานาชาติว่าด้วยพระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายาน มจร (๑๖-๒๐ ก.ค.๔๗) (พ.ศ. ๒๕๔๗)
  -เป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัย ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ บริหารงานทั่วไป เลขที่ ๖๘๖ กองกลางสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตามคำสั่งมหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๘)
  – เป็นวิทยากรบรรยาย “ธรรมะกับการทำงานบริการ” อบรมพนักงานบริษัทตั้งฮั้วเส็ง (พ.ศ. ๒๕๔๘)
  – เป็นอนุกรรมการ งานประชุมวิสาขบูชานานาชาติ มจร (๑๘-๒๒ พ.ค.๔๘) (พ.ศ. ๒๕๔๘)
  – เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ งานอบรมบุคลากรใหม่ มจร (๕-๑๐ ก.ค.๔๘) (พ.ศ. ๒๕๔๘)
  – เป็นอาจารย์ (พิเศษ) บรรยายสอนนักเรียนชั้นสูงพิเศษโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤทธิ์ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพ ฯ มจร (พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๐)
  – เป็นอาจารย์ (พิเศษ) บรรยายแก่นิสิตปริญญาโท สาขาพระไตรปิฎกศึกษา คณะพุทธศาสตร์ รายวิชา ๖๒๐ ๓๐๘ “ประวัติศาสตร์อารยธรรมอินเดียโบราณ”  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มจร วังน้อย อยุธยา (พ.ศ. ๒๕๕๘)
  -เป็นอาจารย์ (พิเศษ) สอนนิสิตปริญญาโท หลักสูตรธรรมนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย รายวิชา ๑๐๒ ๓๐๒ “ธรรมนิเทศเบื้องต้น (๓)” มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มจร วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤทธิ์ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพ ฯ (พ.ศ. ๒๕๖๐)
  – เป็นหัวหน้าโครงการวิจัยรับทุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ผ่านสถาบันวิจัย มจร ชื่อโครงการวิจัย การบูรณาการพุทธจิตวิทยากับภูมิปัญญาทางการเกษตรเพื่อความมั่นคงด้านอาหารของชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน” มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๖๐)
  -เป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัย ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ นักจัดการงานทั่วไป-บริหารงานทั่วไป เลขที่ ๖๘๖ กองกลางสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตามคำสั่งมหาวิทยาลัย (เปลี่ยนจาก บริหารงานทั่วไป) (พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๑)
  -เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา, บรรยาย, ควบคุมดูแล ผู้เข้าอบรมพระธรรมทูต “โครงการอบรมพระธรรมทูตสายต่างประเทศ รุ่นที่ ๒๕ (ปีงบประมาณ ๒๕๖๒)” ระหว่างวันพุธ ที่ ๖ มีนาคม-วันศุกร์ ที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ศูนย์พัฒนาศาสนาแคมป์สน และประเทศอินเดีย (พ.ศ. ๒๕๖๒) 
  -เป็นคณะกรรมการและดูแล(แขก)อาคันตุกะฆราวาสและพระสงฆ์มหายานเกาหลีใต้ ที่เดินทางมาร่วมงานและรับเข็มเกียรติคุณ ณ มหาวิทยามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในงานประสาทปริญญาบัตร ระหว่างวันที่ ๒๕-๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖๒) (พ.ศ. ๒๕๖๒)
  -เป็นคณะกรรมการและดูแล (แขก) อาคันตุกะและพระสงฆ์กัมพูชา ที่มาร่วมงานเจริญพระพุทธมนต์นานาชาติเฉลิมพระเกียรติ ถวายพระพรชัยมงคล และพิธีถวายมหาสังฆทานแด่พระสงฆ์ ๒,๖๐๐ รูป ในครั้งนี้ เป็นการจัดขึ้นเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐  โดยได้รับความร่วมมือจากสมาคมสันติภาพโลก (World Peace Association: W.P.A) ซึ่งได้อาราธนาพระมหาเถระจากนานาชาติมาร่วมในพิธีพร้อมเจริญพระพุทธมนต์นานาชาติถวายพระพรชัยมงคล เฉลิมพระเกียรติ จัดขึ้นที่มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา ในวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๖๒ (พ.ศ.๒๕๖๒)
  -สอน (บรรยาย) แก่นิสิตปริญญาตรี คณะพุทธศาสตร์ สาขาวิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน (Buddhism in Contemporary world) มจร อยุธยา (พ.ศ. ๒๕๖๓)
  -เป็นอาจารย์สอน (บรรยาย) หลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (บรรพชิต) ภาคการศึกษาที่ ๑/๒๕๖๕ ชั้นปีที่ ๔ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เชียงราย
  -เป็นอาจารย์สอน(บรรยาย) วิชา กรรมฐานเชิงประยุกต์กับบริหารการศึกษา หลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชา วิปัสสนาภาวนา ชั้นปีที่ ๓ ภาคการศึกษา ที่ ๑-๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ คณะพุทธศาสตร์ มจร
ผลงานทางวิชาการ/บทความ, สาระนิพนธ์, วิทยานิพนธ์,  งานวิจัย, เรียบเรียง, หนังสือ   -บทความ ๑. บทความทางวิชาการ ๑.๑ ทางสายกลางในฐานะเป็นเครื่องมือพัฒนาเศรษฐกิจในปัจจุบัน”, รวมบทความวิชาการทางพระพุทธศาสนา การสัมมนาทางวิชาการนานาชาติ เนื่องในวันวิสาขบูชา วันสำคัญสากลของโลก วันที่ ๔-๖ พฤษภาคม  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มจร (พ.ศ. ๒๕๕๒)
  ๑.๒ การพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนเกษตรกรรมอินทรีย์ตามแนวพุทธธรรมเพื่อชุมชนที่ยั่งยืนในพื้นที่ภาคกลางตอนบน”, วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๙  (พ.ศ.๒๕๕๙)
  ๑.๓ การมีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชนเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืนแนวพุทธในอาเซียน”, วารสารพุทธอาเซียนศึกษา ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ กรกฏาคม-ธันวาคม ๒๕๕๙ ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มจร (พ.ศ. ๒๕๕๙)
  ๑.๔ พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาบ่อเกิดคุณธรรมจริยธรรมเพื่อพัฒนาชีวิตอย่างยั่งยืน” ส่งคณะพุทธศาสตร์ มจร ตีพิมพ์ในวารสารงาน สัมมนาทางวิชาการ (๒๖ มี.ค. ๖๔)
  ๑.๕ พระพุทธศาสนากับอาหารปัจจัยสำคัญต่อการดำรงชีวิตเพื่อพัฒนาจิตใจ” ส่งวารสารวิชาการ มจร (พ.ศ. ๒๕๖๔) กำลังจัดพิมพิมพ์
  ๑.๖ ความสุขกับวิปัสสนากรรมฐาน ณ ศูนย์พัฒนาศาสนาแคมป์สน แรงจูงใจสู่นวัตกรรมเผยแผ่พระพุทธศาสนา” ส่งวารสาร ศูนย์พุทธศาสน์จุฬา (พ.ศ. ๒๕๖๔)
  ๒. บทความวิจัย ๒.๑ ศึกษาวิเคราะห์หลักการอยู่ร่วมกันของสังคมพหุวัฒนธรรมในประเทศไทย : กรณีศึกษาชุมชนชาวพุทธและมุสลิมในชุมชนวัดท่าการ้อง” ตำบลบ้านป้อม อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา” An Analytical Study of the Princi;le of Coexistence of Multicultural Society in Thailand A Case Study of Buddhist and Muslim Community at Thakarong’s Community, Banpom Sub-district, Ayutthaya distric, Ayutthaya province.  (พ.ศ.๒๕๕๙) (หน้า ๒๑๖-๒๓๐ รวม ๑๖ หน้า) วารสาร มจร พุทธศาสตร์ปริทรรศน์ ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ มกราคม –มิถุนายน ๒๕๖๐ (พ.ศ. ๒๕๖๐)
  ๒.๒ “การบูรณาการพุทธธรรมกับภูมิปัญญาทางการเกษตรเพื่อความมั่นคงด้านอาหารของชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน”, วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ ๒๕ ฉบับที่ ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๑ (พ.ศ. ๒๕๖๑)
งานเขียนหนังสือ (ผลงานทางวิชาการ)   ๑.๑ หนังสือวิชาการ (จำนวน ๑ เล่ม ๓๙ หน้า) (๑) ทางสายกลางในฐานะเป็นเครื่องมือพัฒนาเศรษฐกิจในปัจจุบัน” (The Middle Way as the Instrument of Economical Development in the Present Day), พิมพ์ที่โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งแรก, ๑ มิถุนายน (พ.ศ.๒๕๕๒)
บทความเผยแผ่อิสระ วารสารพุทธจักร (ผลงานทางวิชาการ) ๑) พระพุทธศาสนากับศาสตรแหงการใชเหตุผลนําพาสังคมปลอดภัยและสันติสุข”, วารสารพุทธจักร มจร (พ.ศ. ๒๕๕๓) http://oldweb.mcu.ac.th/site/articlecontent_desc.php?article_id=836&articlegroup_id=161 ๒) พุทธจริยศาสตร์กับสิทธิเสรีภาพและหน้าที่ของมนุษย์”, วารสารพุทธจักร มจร (พ.ศ. ๒๕๕๕)   http://www.mcu.ac.th/site/articlecontent_desc.php?article_id=923&articlegroup_id=161
สารนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต ๓. สารนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต จำนวน ๓ เล่ม ๓.๑ เศรษฐกิจทางสายกลางแนวพุทธเพื่อพัฒนาระบบเศรษฐกิจในสังคมไทย”, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มจร (พ.ศ. ๒๕๕๖)
  ๓.๒ ศึกษาพัฒนาการแนวคิดด้านเศรษฐกิจของพระพุทธศาสนาเถรวาทที่มีต่อปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มจร (พ.ศ. ๒๕๕๖)
  ๓.๓ วิเคราะห์การเลี้ยงชีพชอบในคัมภีร์พระไตรปิฎก”, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มจร (พ.ศ. ๒๕๕๗)
วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ๔. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต จำนวน ๑ เล่ม ๔.๑ วิจัยเอกสารและภาคสนามการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนเกษตรกรรมอินทรีย์ตามแนวพุทธธรรมเพื่อชุมชนที่ยั่งยืนในพื้นที่ภาคกลางตอนบน”, บัณฑิตวิทยาลัย มาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มจร (พ.ศ. ๒๕๕๖)
งานวิจัยร่วม (ผลงานการวิจัย) ๕. งานวิจัยร่วม จำนวน ๒ เรื่อง ๕.๑ วิจัยร่วม เรื่องศึกษาวิเคราะห์หลักการอยู่ร่วมกันของสังคมพหุวัฒนธรรมในประเทศไทย : กรณีศึกษาชุมชนชาวพุทธและมุสลิมในชุมชนวัดท่าการ้อง ตำบลบ้านป้อม อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา”, คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มจร (พ.ศ. ๒๕๕๙)
  ๔.๒ หัวหน้าวิจัย เรื่องการบูรณาการพุทธจิตวิทยากับภูมิปัญญาทางการเกษตรเพื่อความมั่นคงด้านอาหารของชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน”, ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สำนักงานวิจัยพุทธศาสตร์ มจร (พ.ศ. ๒๕๖๐)
งานแต่งเรียบเรียง (ผลงานทางวิชาการ) ๖. งานแต่งเรียบเรียง ๖.๑ เอกสารธรรมะแจกฟรี วิธีสร้างคนก่อนเกิด ตามหลักพระพุทธศาสนา”, รวบรวมและเรียบเรียงโดย พระมหาวรเดชา อคฺคเตโช พิมพ์แจกเป็นธรรมทาน เนื่องในงานพระราชทานเพลิงศพ พระเดชพระคุณ พระมุกดาหารธรรมคณี อดีตเจ้าอาวาสวัดศรีมงคลใต้ และอดีตเจ้าคณะจังหวัดมุกดาหาร วัดศรีมงคลใต้ อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร (พ.ศ. ๒๕๔๕)
ประสบการณ์/ทางวิชาการ ได้รับใบรับรองการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการ เนื่องในงาน “๒๐ ปี บัณฑิตวิทยาลัย” ในหัวข้อ บทบาทที่ท้าทายของบัณฑิตวิทยาลัยในการพัฒนาบัณฑิตศึกษาในทศวรรษหน้า”,  และ “บัณฑิตวิทยาลัยมหาจุฬา ฯ สร้างปัญญาพัฒนาสังคม”,  ณ ห้องประชุมเกียรตินาวี-ศรีนาวา ราชนาวีสโมสร แขวงพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร (พ.ศ. ๒๕๕๑)
ประสบการณ์ในต่างประเทศ -ไปศึกษาต่อ งานศาสนกิจและศึกษาดูงาน ณ ประเทศ ๑) อินเดีย (พ.ศ. ๒๕๔๑-๒๕๔๓, ๒๕๖๒ ศึกษาระดับ ปริญญาโท),  ๒๕๖๒ และศึกษาดูงาน ) ๒) ลาว (ศึกษาดูงาน พ.ศ. ๒๕๒๒, ๒๕๓๗ )    ๒) เมียนมาร์ (ศึกษาดูงาน ช่วยวาตภัย ประชุมสัมมนา) ๓) ภูฏาน (ศึกษาดูงาน ประชุมสัมมนา) ๔) ศรีลังกา (ศึกษาดุงาน ประชุมสัมมนา) ๕) จีน (ศึกษาดุงาน ประชุมสัมมนา) ๖) ไต้หวัน  (ศึกษาดุงาน ประชุมสัมมนา) ๘) ฮ่องกง (ศึกษาดุงาน ประชุมสัมมนา) ๙) กัมพูชา (ศึกษาดุงาน ประชุมสัมมนา) ๑๐) เวียดนาม (ศึกษาดุงาน ประชุมสัมมนา) ๑๑) ฟิลิปปินส์ (ศึกษาดุงาน ประชุมสัมมนา) ๑๒) สิงคโปร์ (ศึกษาดุงาน ประชุมสัมมนา) ๑๓) อเมริกา (ศึกษาดุงาน ประชุมสัมมนา, ร่วมงานพิธีการ) ๑๔) ฝรั่งเศส (ศึกษาดุงาน ประชุมสัมมนา) ๑๕) สหรัฐอาหรับ อิมิเรส (ศึกษาดุงาน ) ๑๖) นอร์เวย์ (ศึกษาดุงาน จัดงานดูแลการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมธรรมทุตคฤหัสถ์วิถีพุทธ)
ตำแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน – ได้รับการบรรจุและแต่งตั้ง ให้เป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัย ในตำแหน่ง อาจารย์ เลขที่ ๐๑๓๑๐๐๖ สังกัด วิทยาลัยพระธรรมทูต  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มจร (พ.ศ. ๒๕๖๒) ตำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๖๒
สถานที่ทำงาน ปัจจุบัน (พ.ศ.๒๕๖๒-๒๕๖๓) – สำนักงานวิทยาลัยพระธรรมทูต วิทยาลัยพระธรรมทูต ห้อง ๒๐๘ ชั้น ๒ อาคารมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤทธิ์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร ท่าพระจันทร์ กรุงเทพ ฯ ๑๐๒๐๐ (พ.ศ. ๒๕๖๒-๒๕๖๓)
  – มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เลขที่ ๗๙ หมู่ที่ ๑ ถนนพหลโยธิน หลักกิโลเมตรที่ ๕๕ ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รหัสไปรษณีย์ ๑๓๑๗๐ (พ.ศ. ๒๕๖๒-๒๕๖๓)
สถานที่อยู่ปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๖๓) – วัดประยุรวงศาวาส (กุฏิเจ้าอาวาส) คณะ ๑, เลขที่ ๒๔ ถนนประชาธิปก แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ๑๐๖๐๐ โทรศัพท์ – ……………….., Fax 02 465 4008, -Line: Waradecha 1, -Facebook: Waradecha Phromsena -อีเมล์ – wrdc_09@hotmail.com,  wpa2546@mcu.ac.th, wrdcpsn2509@gmail.com

This will close in 20 seconds

Scroll to Top